Announcement

Collapse
No announcement yet.

ซื้อคอมมือ2มาประกอบเล่น ผมบ้ารึป่าวคับ

Collapse
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • ซื้อคอมมือ2มาประกอบเล่น ผมบ้ารึป่าวคับ

    คือว่าตอนนี้ผมใช้ x2 3600+ อยู่ มีความคิดอยากจะลองประกอบคอมดุบ้างอ่ะคับ เพราะว่าตอนซื้อให้ร้านประกอบให้อะคับ ถ้าหากว่าผมซื้อคอมมือ2พวก 478 มาประกอบเล่นจะเข้าท่ารึป่าวคับ แบบว่า อยากถอด X2 3600+ของตัวเอง แต่ว่ากลัวใส่ไม่ถูกจะเจ๋งเอาอะคับ หุหุหุ

  • #2
    ไม่แปลกครับ ผมใช้3เครื่องสลับกัน แบบนี้แหละ

    แต่ควรศึกษาข้อมูลให้ดีๆก่อนครับการประกอบไม่ยาก แต่การตรวจสอบการทำงานต้องเข้าใจกับระบบนิดนึง ลองดูครับ ดีกว่าจ้างเขาทำนะ
    เวลามีปัญหาจะได้แก้เองได้

    Comment


    • #3
      ดีคับ ถึงจะบ้าแต่แลกกับวิชาก้อคุ้มคับ^^"

      Comment


      • #4
        good

        Comment


        • #5
          ไม่เห็นจะบ้าตรงไหนเลย
          อยากเก่ง อยากลอง ก็ต้องทำแบบนี้ล่ะ จะซื้อของใหม่มาลองวิชา ก็ใช่เรื่อง

          Comment


          • #6
            ก็ถอดแล้วประกอบของตัวเองเลยซิครับไม่ต้องเปลืองตังซื้อใหม่
            ตานแรกผมก็เริ่มต้นอย่างนี้

            Comment


            • #7
              มะก่อนตอนเด็กๆ ถอดแล้วประกอบเอง ใช้ได้2อาทิตย์ แรมไหม้ ซีพียูเสียเลย อะ
              แค่ว่า ตอนนี้ก็ประกอบเป็นเกือบหมดแล้ว อิอิ อยากรู้อยากลอง

              Comment


              • #8
                ถ้าสนใจจะประกอบ PM มานะมี cpup4 2.4 478 mb asusp4p800s-x vga redeon 128agp ram lemel 512*2 พร้อมให้ประกอบเลย อิอิ(เสนอขายเลย) เอาหมด 4500 ไปเลย
                ปล.บางอันมีประกันอยู่นะคับ

                Comment


                • #9
                  Originally posted by annderson View Post
                  ถ้าสนใจจะประกอบ PM มานะมี cpup4 2.4 478 mb asusp4p800s-x vga redeon 128agp ram lemel 512*2 พร้อมให้ประกอบเลย อิอิ(เสนอขายเลย) เอาหมด 4500 ไปเลย
                  ปล.บางอันมีประกันอยู่นะคับ
                  ไม่ได้บ้าแน่นอน

                  เพิ่งขายให้เพื่อนไปลองวิชาเช่นกันครับ
                  PD820
                  P5PL2
                  Ram NCP 512*4
                  PSU 500 (บ้านๆ)
                  Saphire HD2600Pro512

                  7000 เหอๆ ไม่รู้แพงไปไหม

                  Comment


                  • #10
                    ผมขอเตือนก่อนท่านถอดซิ้งcpuท่านควรเปิดเล่นเกมก่อนสักพักไห้ซิลโคนละลาย
                    ไม่งั้นเด๋วเปนแบบผมตอนกะชากซิ้งcpuออกมาตัวcpuติดออกมาด้วยเลย
                    ดีนะแค่ขางอไม่ได้ขาหัก

                    Comment


                    • #11
                      ถอดซิงค์ของซีพียู 478 เจอะบ่อย หลุดออกมาทั้งยวง หุหุ

                      Comment


                      • #12
                        ถ้าตอนถอดออก ดูกระบวนการใส่ แล้วถึงเวลาประกอบคืน
                        ใส่ได้เหมือนเดิม ก็ไม่น่าจะมีปัญหานะครับ

                        Comment


                        • #13
                          ผมเเนะนำ

                          คู่มือช่างคอมพิวเตอร์ 2007 ฉบับสมบูรณ์ ราคา 239 บาท ประดับความรู้ จากที่ซื้อมาอ่านเเละดูการประกอบคอม เ้ล้วเข้าใจง่ายดี



                          เป็นCD สอนการประกอบเครื่อง ที่มาคู่กับหนังสือคู่มือช่างคอมพิวเตอร์ 2007 ฉบับสมบูรณ์ ของ provision เล่มใหม่ล่าสุด


                          สารบัญ


                          บทที่ 1 มารู้จักกับชิ้นส่วนในเครื่องพีซีกันเถอะ
                          คอมพิวเตอร์คืออะไร?
                          องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
                          Hardware
                          Software
                          Peopleware
                          ประเภทของคอมพิวเตอร์
                          คอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับงานเฉพาะด้าน
                          คอมพิวเตอร์สำหรับองค์กรขนาดใหญ่
                          คอมพิวเตอร์สำหรับองค์กรขนาดกลางและเล็ก
                          คอมพิวเตอร์สำหรับผู้ใช้งานทั่วไป
                          ความเข้าใจพื้นฐานที่สำคัญเกี่ยวกับการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
                          หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
                          หน่วยความจำ (Memory Unit)
                          หน่วยประมวลผล (Processing Unit)
                          หน่วยแสดงผล (Output Unit)
                          ข้อมูล (Data) คืออะไร
                          ไฟล์ (File) และโฟลเดอร์ (Folder) คืออะไร
                          ความจุหรือขนาดของข้อมูล
                          ปัจจัยสำคัญที่จะเป็นตัวชี้วัดถึงประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์
                          บทที่ 2 ซีพียู (CPU) สมองของคอมพิวเตอร์
                          ความเร็วของซีพียู
                          ความเร็วของ FSB
                          HyperTransport
                          หน่วยความจำแคช (Cache Memory)
                          บรรจุภัณฑ์ (Packaging) และฐานรอง (Socket)
                          แบบตลับ (Cartridge)
                          แบบ BGA (Ball Grid Array)
                          แบบ PGA (Pin Grid Array)
                          แบบ LGA (Land Grid Array)
                          ซีพียูของอินเทล (Intel)
                          ซีพียูรุ่นเก่า
                          ซีพียู Celeron D
                          ซีพียู Pentium 4
                          ซีพียู Pentium 4 Extreme Edition
                          ซีพียู Pentium D
                          ซีพียู Pentium Extreme Edition
                          ซีพียูในตระกูล Core
                          การกำหนดรุ่นซีพียู (Processor Number) ในแบบฉบับของ Intel
                          ตารางสรุปซีพียูของ Intel เฉพาะบางรุ่นที่มีใช้งานกันอยู่ในปัจจุบัน
                          ซีพียูสำหรับเครื่องระดับ Server และ Workstation ของ Intel
                          ซีพียูของเอเอ็มดี (AMD)
                          ซีพียูรุ่นเก่า
                          ซีพียู Athlon
                          ซีพียู Athlon XP
                          ซีพียู Sempron
                          ซีพียู Athlon 64
                          ซีพียู Athlon 64 FX
                          ซีพียู Athlon 64 X2
                          ตารางสรุปซีพียูของ AMD เฉพาะบางรุ่นที่มีใช้งานกันอยู่ในปัจจุบัน
                          ซีพียูสำหรับเครื่องระดับ Server และ Workstation ของ AMD
                          ซีพียูค่ายอื่นๆ
                          ซีพียูของเวีย (VIA)
                          ซีพียูของทรานสเมต้า (Transmeta)
                          วิธีการตรวจสอบรุ่นหรือหมายเลขรหัสที่ระบุไว้บนตัวซีพียู
                          อุปกรณ์ช่วยระบายความร้อนให้ซีพียู (CPU Fan & Heat Sink)
                          สารเชื่อมความร้อน (Thermal Grease)
                          ชุดอุปกรณ์ระบายความร้อนด้วยน้ำ (Water Cooling System)
                          บทที่ 3 ภายในคอมพิวเตอร์ (MAINBOARD, CHIPSET, RAM และ CASE )
                          ฟอร์มแฟคเตอร์ (Form Factor)
                          เมนบอร์ดแบบ ATX
                          เมนบอร์ดแบบ Micro ATX
                          เมนบอร์ดแบบ Flex ATX, ITX และเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ Barebone
                          เมนบอร์ดแบบ BTX
                          ส่วนประกอบที่สำคัญบนเมนบอร์ด
                          ช่องสำหรับติดตั้งซีพียู (Socket)
                          ช่องสำหรับติดตั้งหน่วยความจำ (Memory Slot)
                          ชิปเซ็ต (Chipset)
                          ระบบบัส และช่องสำหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ (Bus & Slot)
                          บัสและสล็อตของอุปกรณ์อื่นๆ
                          ไบออส (BIOS)
                          แบตเตอรีไบออส (BIOS Battery)
                          ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ (Power Connector)
                          ขั้วต่อปุ่มสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง (Front Panel Connector)
                          จัมเปอร์สำหรับกำหนดการทำงานของเมนบอร์ด
                          พอร์ตควบคุมอุปกรณ์ IDE (IDE Controller Port)
                          พอร์ตควบคุมอุปกรณ์ Serial ATA (SATA)
                          พอร์ตควบคุมอุปกรณ์ Floppy Disk Drive (FDD/FDC Controller Port)
                          พอร์ตอนุกรม และพอร์ตขนาน (Serial & Parallel Port)
                          พอร์ตคีย์บอร์ด และเมาส์ (PS/2 Port)
                          พอร์ตยูเอสบี (USB Ports)
                          พอร์ตไฟร์ไวร์ (Firewire หรือ IEEE 1394)
                          เมนบอร์ดในปัจจุบัน
                          เมนบอร์ดสำหรับซีพียูที่จะนำไปใช้งานบน Socket T หรือ LGA 775
                          เมนบอร์ดสำหรับซีพียูที่จะนำไปใช้งานบน Socket 478
                          เมนบอร์ดสำหรับซีพียูที่จะนำไปใช้งานบน Socket 940
                          เมนบอร์ดสำหรับซีพียูที่จะนำไปใช้งานบน Socket AM2
                          เมนบอร์ดสำหรับซีพียูที่จะนำไปใช้งานบน Socket 939
                          เมนบอร์ดสำหรับซีพียูที่จะนำไปใช้งานบน Socket 754
                          เมนบอร์ดสำหรับซีพียูที่จะนำไปใช้งานบน Socket A หรือ Socket 462
                          หน่วยความจำ (Memory)
                          หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory)
                          หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
                          ประเภทของแรม (RAM)
                          ชนิดของแรมหรือ DRAM (ในปัจจุบัน)
                          ตัวเครื่องหรือเคส (Case)
                          วัสดุที่ใช้ทำตัวเคส เลือกพลาสติกหรือโลหะดี?
                          พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)
                          แรงดันไฟขาออกของพาวเวอร์ซัพพลาย
                          บทที่ 4 การพิจารณาเลือกซื้ออุปกรณ์
                          ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)
                          EIDE (Enhanced IDE)
                          Serial ATA (SATA) & Serial ATA-II (SATA-II)
                          SCSI (Small Computer System Interface)
                          RAID (Reduntdant Array of Inexpensive Disks)
                          โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์
                          การคำนวณค่าความจุของฮาร์ดดิสก์
                          บริษัทผู้ผลิตฮาร์ดดิสก์ชั้นนำในปัจจุบัน
                          ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk Drive)
                          ขนาดและความจุของแผ่นบันทึกข้อมูลที่ใช้
                          ฟล็อปปี้ดิสก์ไดรว์ แบบติดตั้งภายนอก (External)
                          ซีดีรอมไดรว์ (CD-ROM) และดีวีดีรอมไดรว์ (DVD-ROM)
                          CD-ROM Drive
                          DVD-ROM Drive
                          ความเร็วของไดรว์ซีดีรอมและดีวีดีรอม
                          ไดรว์เขียนแผ่นซีดี (CD-RW) และไดรว์สำหรับเขียนแผ่นดีวีดี (DVD Writer)
                          CD-RW Drive
                          DVD Writer Drive
                          DVD DL (Dual Layer หรือ Double Layer)
                          ไดรว์แบบคอมโบ (Combo Drive)
                          รู้จักกับ Blu-ray และ HD-DVD
                          Blu-ray Disc (BD) และ HD-DVD Disc
                          ไดรว์ Blu-ray และ HD-DVD
                          การ์ดแสดงผลสัญญาณภาพหรือการ์ดจอ (Display Adaper)
                          ส่วนประกอบของการ์ดแสดงผล
                          เทคโนโลยีการประมวลผลกราฟฟิกในแบบ Multi-GPU
                          NVDIA SLI Multi-GPU Technology
                          วิธีการเรนเดอร์ภาพในโหมดต่างๆของเทคโนโลยี SLI
                          สิ่งจำเป็นสำหรับการใช้งาน NVDIA SLI Multi-GPU Technology
                          ATI CrossFire Multi-GPU Technology
                          วิธีการเรนเดอร์ภาพในโหมดต่างๆของเทคโนโลยี CrossFire
                          สิ่งจำเป็นสำหรับการใช้งาน ATI CrossFire Multi-GPU Technology
                          การ์ดแสดงผลสัญญาณเสียง (Sound Card)
                          ลำโพง (Speaker)
                          ระบบเครือข่าย (Network System)
                          การ์ดแลน (Lan Card)
                          ฮับ (Hub) หรือตัวรวมสาย
                          Fast Ethernet และ Gigabit Ethernet
                          เครือข่ายแบบไร้สาย (Wrieless LAN)
                          Super G และ Super A/G
                          802.11n
                          Wi-MAX
                          จอภาพ (Display Monitor)
                          จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube)
                          จอภาพแบบ LCD (Liquid Crytal Display)
                          เมาส์ (Mouse)
                          คีย์บอร์ด (Ketboard)
                          โมเด็ม (Modem)
                          แบบภายใน (Internal)
                          แบบภายนอก (External)
                          ADSL Modem
                          เครื่องพิมพ์ (Printer)
                          เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner)
                          เครื่องพิมพ์แบบมัลติฟังก์ชั่น (Multifunction Printer)
                          บทที่ 5 การพิจารณาเลือกซื้ออุปกรณ์
                          การเลือกซื้ออุปกรณ์ให้เหมาะสมตามลักษณะงานที่ใช้
                          งานทางด้านเอกสาร รายงาน หรืองานในสำนักงานต่างๆ และอินเทอร์เน็ต
                          งานทางด้านกราฟิกประเภทออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อโฆษณาต่างๆ
                          งานออกแบบกราฟิกขั้นสูงประเภทที่ต้องแสดงผลในรูปแบบ 3 มิติ หรืองาน 3D Animation ต่างๆ
                          ใช้เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่
                          ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่วางขายอยู่ตามท้องตลาด
                          คอมพิวเตอร์แบบมียี่ห้อที่นิยมขายเป็นชุด (Computer Set)
                          คอมพิวเตอร์แบบเลือกซื้อชิ้นส่วนเพื่อนำมาจ้างหรือประกอบเอง
                          การเลือกซื้อซีพียู (CPU)
                          เลือก Intel หรือ AMD
                          ซีพียูจาก Intel
                          ควรเลือกอะไร
                          ซีพียูจาก AMD
                          ซื้อซีพียูแบบ Tray กับแบบ Box อย่างไหนดีกว่ากัน
                          การเลือกซื้อชุดระบายความร้อนให้กับซีพียู (CPU Fan & Heat Sink)
                          วัสดุที่ใช้ทำตัวฮีตซิงค์
                          การออกแบบครีบระบายความร้อน
                          ความเร็วรอบในการหมุน (rpm) ของพัดลมซีพียู
                          ถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับซีพียู และซ็อคเก็ตแบบใด
                          การเลือกซื้อเมนบอร์ด (Mainboard)
                          เลือกรูปแบบหรือฟอร์มแฟกเตอร์ของเมนบอร์ดให้เหมาะสมกับตัวเครื่องหรือเคส
                          เลือกช่องสำหรับติดตั้งซีพียูบนเมนบอร์ด
                          เลือกช่องสล็อตสำหรับติดตั้งหน่วยความจำ
                          เลือกชนิดและจำนวนของช่องสล็อตบนเมนอร์ด
                          เลือกช่องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอกหรือพอร์ตแบบต่างๆ
                          เลือกคุณสมบัติพิเศษอื่นๆเพิ่มเติม
                          การเลือกซื้อหน่วยความจำ (RAM)
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อ RAM
                          วิธีการอ่านค่าหน่วยความจำ
                          การเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์ (Harddisk)
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อฮาร์ดดิสก์
                          การเลือกซื้อการ์ดแสดงผล (VGA Card)
                          ตารางแสดงข้อมูลรายละเอียดของการ์ดแสดงผลบางรุ่น บางยี่ห้อ ที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อการ์ดแสดงผล
                          การเลือกซื้อการ์ดเสียง (Sound Card)
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อการ์ดเสียง
                          การเลือกซื้อลำโพง (Speaker)
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อลำโพง
                          การเลือกซื้อไดรว์ซีดีรอม และไดรว์ดีวีดี
                          ไดรว์ซีดีรอม (CD-ROM Drive)
                          ไดรว์ดีวีดี (DVD Drive)
                          การเลือกซื้อไดรว์ซีดีอาร์ดับบลิว (CD-RW Drive), ไดรว์ดีวีดีอาร์ดับบลิว (DVD-RW Drive) และไดรว์คอมโบ (Combo Drive)
                          ไดรว์ซีดีอาร์ดับบลิว (CD-RW Drive)
                          ไดรว์ดีวีดีอาร์ดับบลิว (DVD-RW Drive)
                          ไดรว์คอมโบ (Combo Drive)
                          การเลือกซื้อจอภาพ (Display Monitor)
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อจอภาพ
                          การเลือกซื้อการ์ดแลน (LAN Card)
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อการ์ดแลน
                          การเลือกซื้อการ์ด Wireless LAN และ Access Point
                          คุณสมบัติและข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อการ์ด Wireless LAN และ Access Point
                          การเลือกซื้อ Modem
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อโมเด็ม
                          การเลือกซื้อเคส และเพาเวอร์ซัพพลาย (Case & Power Supply)
                          การเลือกซื้อตัวเครื่องหรือเคส (Case)
                          การเลือกซื้อแหล่งจ่ายไฟหรือเพาเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)
                          การเลือกซื้อเครื่องพรินเตอร์ (Printer)
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อเครื่องพรินเตอร์
                          การเลือกซื้อเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner)
                          คุณสมบัติต่างๆ และข้อควรคำนึงถึงในการเลือกซื้อเครื่องสแกนเนอร์
                          ข้อแนะนำในการเลือกซื้ออุปกรณ์ตามแหล่งต่างๆมาประกอบเอง
                          ตรวจเช็คราคาของอุปกรณ์จากร้านต่างๆก่อนเสมอ
                          เลือกซื้อเฉพาะสินค้าที่มีประกันเท่านั้น (Void)
                          ควรศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มาบ้างพอสมควร
                          พยายามเลือกร้านค้าที่น่าเชื่อถือ
                          ไม่ควรเลือกซื้อสินค้าด้วยราคาที่ถูกที่สุดเสมอไป
                          แนะนำแหล่งขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่น่าสนใจ
                          กลุ่มที่เน้นไปทางด้านชิ้นส่วนอุปกรณ์ต่างๆ และรับสั่งประกอบเครื่อง
                          กลุ่มที่เน้นไปทางด้านขายเครื่องคอมพิวเตอร์แบบมียี่ห้อ และอุปกรณ์สำนักงานต่างๆ
                          บทที่ 6 การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
                          เตรียมตัวก่อนลงมือประกอบเครื่อง
                          เตรียมเครื่องมือต่างๆที่จำเป็น
                          เตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่จะประกอบเครื่อง
                          วิธีดูตำแหน่งขา 1 ของอุปกรณ์ต่างๆ
                          รู้จักกับสายสัญญาณของอุปกรณ์ดิสก์ไดรว์ต่างๆ
                          สายสัญญาณสำหรับอุปกรณ์ IDE/ATA
                          สายสัญญาณสำหรับอุปกรณ์ SATA (Serial ATA)
                          ขั้นตอนการประกอบเครื่อง
                          1 จัดเตรียมเคส หรือตัวเครื่องให้พร้อม
                          เตรียมพื้นที่ภายในตัวเครื่องสำหรับการจัดวางเมนบอร์ด
                          ประกอบแผงหลังหรือช่องต่อพอร์ตต่างๆของตัวเครื่อง
                          2 ติดตั้งซีพียู ๖พร้อมชุดระบายความร้อน๗ และแรมลงบนเมนบอร์ด
                          การติดตั้งซีพียู Intel Pentium 4 ลงบน Socket T หรือ LGA775
                          การติดตั้งซีพียู AMD Athlon 64 X2 ลงบน Socket AM2
                          การติดตั้งแรม (RAM) ลงบนเมนบอร์ด
                          3 ติดตั้งเมนบอร์ดเข้ากับตัวเครื่อง
                          4 ติดตั้งอุปกรณ์ดิสก์ไดรว์ต่างๆเข้ากับตัวเครื่อง
                          การติดตั้งซีดี/ดีวีดีรอมไดรว์
                          การติดตั้งฮาร์ดดิสก์
                          การติดตั้งฟล็อปปี้ดิสก์ไดรว์
                          5 ต่อสายไฟ แลพสายสัญญารณต่างๆภายในตัวเครื่อง
                          เสีบยขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟลงบนเมนบอร์ด (Powre Connector)
                          ขั้วต่อปุ่มสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง (Front Panel Connector)
                          ขั้วต่อสำหรับพอร์ตเสริมต่างๆ
                          6 ติดตั้งอุปกรณืจำพวกการ์ดต่างๆ
                          ติดตั้งการ์ดจอ (VGA Card)
                          ติดตั้งการ์ดเสียง (Sound Card)
                          ติดตั้งการ์ดแลน และการ์ดโมเด็ม (LAN & Modem Card)
                          7 เชื่อมต่ออุปกรณืภายนอกเข้ากับพอร์ตหรือช่องต่อต่างๆ
                          8 ตรวจสอบและทดสอบการทำงานของเครื่อง
                          9 ติดตั้งหรือเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆเพิ่มเติม (ถ้าจำเป็น)
                          บทที่ 7 การกำหนดค่า BIOS
                          BIOS คืออะไร?
                          ก่อนปรับค่า BIOS
                          การลบค่า BIOS
                          การอัพเกรด BIOS (Upgrade)
                          การกำหนดค่า BIOS
                          Standard CMOS Setup
                          BIOS Features Setup
                          Chipset Features Setup
                          Integrated Peripherals
                          Power Management Setup
                          PnP / PCI Configuration
                          Load Fail-Safe Defaults
                          Load Optimized Defaults
                          IDE HDD Auto Detection
                          Hardware Monitor & Misc Setup
                          Password (กำหนดรหัสผ่าน)
                          Supervisor password
                          User password
                          BIOS – ยี่ห้อนั้นสำคัญไฉน ?
                          Award และ AMI ผู้บุกเบิกวงการ BIOS
                          การ Flash BIOS
                          ตัวอย่างการ Flash BIOS
                          การ Flash BIOS โดยไม่ใช้แผ่นดิสก์หรือ Windows
                          การปรับแต่ง BIOS เพิ่มความเร็วเครื่อง
                          การตั้งค่า BIOS ให้บู๊ตเครื่องได้เร็วที่สุด
                          การตั้งค่า BIOS เพื่อให้เครื่องทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ
                          การตั้งค่า BIOS เพื่อ overclock
                          overclock คืออะไร
                          BIOS มีอะไรให้ overclock ได้บ้าง
                          การตั้งค่า BIOS แบบไม่ให้เครื่องมีปัญหา
                          บทที่ 8 การจัดเตรียมฮาร์ดดิสก์
                          พาร์ติชั่น (Partition) คืออะไร...ทำไมต้องแบ่งพาร์ติชั่น
                          พาร์ติชั่นประเภท Primary, Extended และ Logical
                          ตัวอย่างภาพจำลองการแบ่งพาร์ติชั่น
                          ข้อดี และข้อเสียของการแบ่งพาร์ติชั่น
                          ระบบไฟล์แบบ FAT และ NTFS คืออะไร...อย่างไหนดีกว่ากัน
                          การเตรียมฮาร์ดดิสก์สำหรับติดตั้งระบบปฏิบัติการ (Windows)
                          วิธีที่ 1: แบ่งและฟอร์แมตพาร์ติชั่นด้วยคำสั่ง Fdisk และ Format จากแผ่นบู๊ตของ Windows 98/Me
                          วิธีที่ 2: แบ่ง และฟอร์แมตพาร์ติชั่นด้วยแผ่น Rescue ของโปรแกรม PartitionMagic 8.0
                          วิธีที่ 3: แบ่ง และฟอร์แมตพาร์ติชั่นด้วยแผ่นติดตั้ง Windows XP
                          วิธ๊ที่ 4 : แบ่ง และฟอร์แมตพาร์ติชั่นด้วยแผ่นติดตั้ง Windows Vista
                          บทที่ 9 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ WINDOWS VISTA
                          ความต้องการของระบบ (System Requirements) สำหรับ Windows Vista
                          ขั้นตอนในการติดตั้ง Windows Vista
                          การปรับแต่งแป้นพิมพ์และภาษา
                          บทที่ 10 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ WINDOWS XP
                          Windows XP Home Edition กับ Professional
                          ขั้นตอนในการติดตั้ง Windows XP
                          การทำ Product Activation
                          Service Pack 1 และ 2 รุ่นปรับปรุงของ Windows XP
                          มีอะไรใหม่ใน Windows XP Service Pack 2
                          ระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวดขึ้น
                          คุณสมบัติใหม่อื่นๆในการใช้งานทั่วไป
                          เรื่องของ License – แบบ OEM กับแบบ Retail (Box)
                          การเซ็ตอัพ User Account และ Password
                          การปรับตั้ง User Account ใน Windows XP
                          สร้าง User Account ใหม่
                          แก้ไข password และรูปภาพ
                          ลบ Account
                          ปรับแต่งหน้าตาของ Windows XP
                          การเซ็ตอัพภาษาไทยใน Windows XP
                          การอัพเดทฐานข้อมูลโปรแกรมของระบบปฏิบัติการ Windows XP
                          การให้ Windows ตรวจสอบและค้นหาไฟล์อัพเดทข้อมูลโดยอัตโนมัติ (Automatic Updates)
                          การดาวน์โหลดไฟล์ AutoPatcher หรือไฟล์ Patch รวม มาติดตั้งด้วยตัวเอง
                          บทที่ 11 การติดตั้งแบบ 2 ระบบ ในเครื่องเดียว (WINDOWS XP และ VISTA)
                          ขั้นตอนที่ 1: จัดเตรียมความพร้อมของพาร์ติชั่นที่จะใช้ติดตั้ง Windows XP พร้อมทั้งติดตั้ง Windows XP ลงในไดรว์ C
                          ขั้นตอนที่ 2: จัดเตรียมความพร้อมของพาร์ติชั่นที่จะใช้ติดตั้ง Windows Vista พร้อมทั้งติดตั้ง Windows Vista ลงในไดรว์ D
                          การถอดถอน Windows Vista ออกจากการติดตั้งแบบ 2 ระบบ (Windows XP และ Vista)
                          บทที่ 12 ติดตั้งไดรเวอร์ให้กับอุปกรณ์ต่างๆ
                          ลำดับในการติดตั้งไดรเวอร์
                          วิธีติดตั้งไดรเวอร์
                          การติดตั้งไดรเวอร์แบบอัตโนมัติโดย Windows
                          การติดตั้งไดรเวอร์โดยใช้ตัวช่วย Add Hardware Wizard
                          ติดตั้งไดรเวอร์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปจากแผ่นติดตั้งที่ให้มาพร้อมตัวอุปกรณ์
                          การติดตั้งไดรเวอร์ของเมนบอร์ด
                          การติดตั้งไดรเวอร์ของการ์ดแสดงผล
                          การติดตั้งไดรเวอร์ของการ์ดเสียง
                          การเรียกใช้ Add New Hardware Wizard ช่วยในการติดตั้งไดรเวอร์
                          รู้จักกับ Device Manager
                          รหัสความผิดพลาดทางฮาร์ดแวร์
                          บทที่ 13 ติดตั้งโปรแกรมพื้นฐานที่จำเป็น
                          Microsoft Office 2003
                          ACDSee 9.0
                          Winzip 11
                          WinRAR
                          Windows Media Player 11
                          Winamp 5.32
                          BitComet 0.8
                          Flashget 1.8.0.1
                          Internet Explorer 7.0
                          Norton Antivirus 2007
                          AVG Antivirus 7.5
                          Spybot - Search & Destroy 1.4
                          Ad-Aware SE Personal Edition 1.06
                          บทที่ 14 ตรวจสอบและแก้ไขปัญหาเครื่องพีซี
                          การแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์
                          ข้อสังเกตลักษณะและอาการเสียของเครื่องคอมพิวเตอร์
                          จุดที่ 1 เสียงเตือนจากไบออสเมื่อเครื่องมีความผิดปกติหรือเสียง Beep Code
                          จุดที่ 2 ข้อความเตือนที่ปรากฏบนหน้าจอเวลาเปิดเครื่อง หรือ Error Message
                          จุดที่ 3 หลอดไฟแสดงสถานะบนเมนบอร์ด
                          จุดที่ 4 หลอดไฟแสดงสถานะที่หน้าเครื่อง
                          ปัญหาทางด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware)
                          แนวทางในการแก้ไขปัญหา
                          อาการที่เครื่องหยุดค้างไม่ตอบสนองใดๆ (Hang)
                          ปัญหาอันเนื่องมาจากความร้อนของซีพียู
                          ปัญหาอันเนื่องมาจากอุปกรณ์ใช้ IRQ ซ้ำซ้อนกันหรือ IRQ ชนกัน (IRQ Conflicts)
                          ปัญหาอันเนื่องมาจากโดนไวรัสคอมพิวเตอร์
                          อาการที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถบู๊ต (Boot) ได้
                          ปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์ (Software)
                          กรณีบู๊ตเข้า Windows ไม่ได้
                          การบู๊ตเข้า Windows แบบ Safe Mode (Windows 98 และ Me)
                          การบู๊ตเข้า Windows แบบ Safe Mode (Windows XP)
                          การบันทึกและการใช้ System Restore คืนค่าระบบ
                          การเรียกคืนค่า Registry (สำหรับ Windows 98 เท่านั้น)
                          บทที่ 15 การดูแลบำรุงรักษาและปรับปรุงประสิทธิภาพ
                          ใช้โปรแกรม Disk Cleanup เก็บกวาดขยะบนฮาร์ดดิสก์
                          ใช้โปรแกรม Check Disk ตรวจสอบสภาพฮาร์ดดิสก์
                          ใช้โปรแกรม Disk Defragmenter จัดเรียงข้อมูลเพื่อเร่งความเร็ว
                          การปรับแต่ง Windows XP เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
                          ปิด Service บางตัวที่ไม่จำเป็น เพื่อเพิ่มทรัพยากรให้กับระบบ
                          กำหนดค่า Virtual Memory ให้เหมาะสม เพื่อให้ระบบทำงานได้รวดเร็วขึ้น
                          ปิดการแสดงผลการรายงานข้อผิดพลาด (Error Reporting) เมื่อไม่จำเป็น
                          ปิดโปรแกรมที่ทำงานเองโดยอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มความเร็วในการบู๊ตระบบ
                          เปิดรายชื่อโปรแกรมใน Start Menu ให้เร็วทันใจ
                          ปรับขนาดของถังขยะ (Recycle Bin) ให้เหมาะสม เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการใช้งาน
                          ปรับแต่ง Visual Effect ของ Windows เพื่อลดองค์ประกอบที่ไม่จำเป็น
                          กำหนดให้ Windows ลบไฟล์ขยะทิ้งโดยอัตโนมัติในทุกๆครั้งที่สั่งปิดหรือ Shutdown เครื่อง
                          การปรับแต่ง Windows XP ให้สามารถ Shutdown ได้อย่างรวดเร็ว
                          ตรวจสอบและแก้ไขรีจิสทรีด้วย Registry Mechanic 5
                          เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม
                          หน้าต่างหลักของโปรแกรม
                          ตรวจค้นและรายงานปัญหาของรีจิสทรี
                          การสำรองและเรียกคืนรีจิสทรี
                          การตั้งค่าตัวเลือก
                          สำรองไฟล์ระบบและสร้างแผ่นกู้ระบบด้วยโปรแกรม Backup ของ Windows
                          กู้ไฟล์ระบบคืนมาด้วย Automated System Recovery (ASR) ของ Windows
                          ระบบการจัดการพลังงานของ Windows XP
                          ข้อแนะนำในการดูแลและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
                          บทที่ 16 การกู้คืนข้อมูล
                          การกู้คืนไฟล์ที่ถูกลบ (Delete) ไปกลับคืนมา
                          การกู้คืนข้อมูลที่สูญหายไปแบบถาวร ด้วยโปรแกรม Easy Recovery
                          บทที่ 17 ตรวจสอบและทดสอบประสิทธิภาพเครื่อง
                          ตรวจสอบและทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องด้วย SiSoftware Sandra
                          ส่วนประกอบ และการใช้งานโปรแกรม SiSoftware Sandra Lite XI 11.17b
                          Tools
                          Benchmarks
                          Hardware
                          Software
                          Testing
                          Support
                          โปรแกรม PC Wizard 2006 ตรวจสอบและทดสอบประสิทธิภาพของเครื่อง
                          ส่วนประกอบ และการใช้งานโปรแกรม PC Wizard 2006 เวอร์ชั่น 1.71
                          หมวดหมู่ Hardware
                          หมวดหมู่ Configuration
                          หมวดหมู่ System Files
                          หมวดหมู่ Resources
                          หมวดหมู่ Benchmark
                          โปรแกรม PCMark05 ตรวจวัดประสิทธิภาพการทำงานของเครื่อง
                          ส่วนประกอบและการใช้งานโปรแกรม PCMark05
                          การตรวจดูข้อมูลรายละเอียดต่างๆของทั้งระบบ
                          การทดสอบหรือตรวจวัดประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
                          โปรแกรม WCPUID ตรวจสอบรายละเอียดและคุณสมบัติของซีพียู
                          เมนู Analyze และเมนู CPU Status
                          เมนู Feature Flags
                          เมนู Cache Info…
                          เมนู Chipset Info…
                          เมนู Device List…
                          เมนู System Info…
                          โปรแกรม CPU-Z ตรวจสอบรายละเอียดและคุณสมบัติของซีพียู
                          เมนู CPU
                          เมนู Cache
                          เมนู Mainboard
                          เมนู Memory
                          เมนู SPD
                          เมนู About
                          โปรแกรม 3DMark06 ตรวจวัดประสิทธิภาพการแสดงผลของการ์ดจอ
                          ส่วนประกอบและการใช้งานโปรแกรม 3DMark06
                          การตรวจดูส่วนประกอบหรือข้อมูลต่างๆของทั้งระบบ
                          การตรวจวัดประสิทธิภาพในการแสดงผลของการ์ดจอ
                          โปรแกรม HD Tach ตรวจวัดประสิทธิภาพการทำงานของฮาร์ดดิสก์
                          ส่วนประกอบและการใช้งานโปรแกรม HD Tach
                          การทดสอบ เพื่อวัดประสิทธิภาพการทำงานของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้อยู่
                          การเปรียบเทียบสมรรถนะหรือประสิทธิภาพในการทำงานระหว่างฮาร์ดดิสก์ที่ใช้อยู่กับฮาร์ดดิสก์รุ่นอื่นๆ
                          บทที่ 18 การใช้งาน NORTON GHOST 10.0
                          การทำสำรองข้อมูล (Backup)
                          การกำหนดจุดที่จะใช้สำรองข้อมูลใหม่ (Define New Backup…)
                          การทำสำรองข้อมูล (Backup)
                          การแก้ไขช่วงวัน/เวลาที่จะให้โปรแกรมทำการสำรองข้อมูลโดยอัตโนมัติ (Edit Schedule)
                          การกู้คืนข้อมูล (Recovery)
                          การกู้คืนข้อมูลทั้งฮาร์ดดิสก์หรือทั้งพาร์ติชั่น (Recover My Computer)
                          การกู้คืนข้อมูลเฉพาะไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการ (Recover My Files)
                          บทที่ 19 จัดการฮาร์ดดิสก์ด้วย PARTITIONMAGIC 8.0
                          เมนูบาร์และทูลบาร์
                          Action Panel
                          ส่วนแสดงรายละเอียดของพาร์ติชั่น
                          แผนผังพาร์ติชั่น (Partition Map)
                          รายการพาร์ติชั่น (Partition List)
                          การสร้างและลบพาร์ติชั่น
                          การปรับขนาดพาร์ติชั่น
                          การรวมพาร์ติชั่นเข้าด้วยกัน
                          การแยกพาร์ติชั่น
                          การก๊อปปี้พาร์ติชั่น
                          การแปลงระบบไฟล์/ประเภทของพาร์ติชั่น
                          การเฉลี่ยพื้นที่ว่างของพาร์ติชั่น (Redistribute Free Space)
                          บทที่ 20 การรับประกัน และการเคลมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

                          Comment


                          • #14
                            ลองกับเครื่องที่ใช้อยู่เลยครับ

                            Comment


                            • #15
                              ไม่บ้าครับ ปกติดี อิอิ

                              Comment

                              Working...
                              X