Announcement

Collapse
No announcement yet.

D.I.Y.ตอน เครื่องขยายเสียง

Collapse
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • 5555+...กำ

    Comment


    • สงกรานต์อยู่บ้านว่างๆ จับของในบ้านมาทำ Pre Op-Amp เล่นซะ
      ต้นแบบ http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=375.0

      วงจรคร่าวๆ


      จับของที่มียัดลงไปแบบตามตีตามเกิด ออกมาเป็นแบบนี้
      ปล. ในกรอบแดง ฟิลเตอร์ภาคไฟล้วนๆ เห็นที่มันว่างเลยจับยัดไปซะ


      ภาคจ่ายไฟ ซื้อมาจาก ebay ดองไว้นานแล้ว ได้ใช้งานสักที


      ลองต่อใช้งานจริงดู


      ทดลองฟังดูแบบยังไม่พ้นเบิร์น เสียงร้องออกมาอยู่ข้างหน้ากว่าไม่มีปรี เสียงแหลมกับรายละเอียดมากขึ้นหน่อย
      เบสแน่นขึ้น ลึกขึ้น แต่เบสแข็งไปนิดตามแนวเสียงของ opamp LME49720NA เอง
      เดี๋ยวลองเบิร์นสักสัปดาห์ดูก่อนว่าเสียงจะเปลี่ยนไหม จับยัด Cerafine ไปทั้งแผงด้วย

      -----------------------------------

      เห็นพูดถึง หม้อแปลง Kohsel 12/4.8VA x2 กัน เลยหยิบมาลองต่อไฟดู ไหงตัวที่มีวัดได้ 15V ก็ไม่รู้ -*-

      Comment


      • > 220 volts power inverter using NE555 and MOSFET

        Today I want to show you a 220 volts power inverter circuit. Which it is easy and small size. Because use NE555 and MOSFET as main.
        This circuit I experiment it work well,When use source is 12V battery will have output of 100 watts.



        I use IC-NE555 timer is a square wave frequency generator output of 50Hz. The frequency is determined with R2-resistor and C1-capacitor which we set is 50Hz output. Then we use both N-type Mosfet IRF540 (Q2,Q3) as Driver a transformer coil (primary winding). The current of Pin 3 of IC1 will flow two ways, first through R3 to gate of Q2 and, second ways will flow to Q1-transistor BC549 as inverter logic form to reverse signal difference first ways. Next current flow to gate of Q3 to also dirver the transformer. Them cause have AC voltage of 220V to 250V as voltage of battery source 12V to 14.4V.

        - The transformer I use 2A current and 12V input at output power more than 100 watts.
        - I selected IRF540 number because it cheaper and can use for N CHANNEL POWER MOSFET, 100V, 27A, TO-220 easy to mounting on heatsink and easy to use than power transistor. we can use smaller heatsink than a transistor, it not too heat.

        The component list
        IC1 = NE555 timer IC : 1 pcs
        Q1 = BC549 : 1 pcs
        Q2,Q3 = IRF540 : 2 pcs
        C1,C2 = 0.1uF 100V : 2 pcs
        R1 = 4.7K 0.5W : 1 pcs
        R2 = 120K 0.5W : 1 pcs
        R3,R4 = 1K : 2 pcs
        R5 = 5.6K : 1 pcs
        T1 = 2A 12V-CT-12V transformer : 1 pcs



        Comment


        • ขอบคุณครับ..สงกรานต์อยู่บ้านเฉยๆ...แต่ผมไม่ได้อะไรเป็นชิ้นเป็นอันเลย
          741 ว่าจะให้เสร็จ ก็ยังกองอยู่เลย...ถอด Cได้แค่4ตัวมั๊ง

          Comment


          • @เสือ
            เอ้า ก็คุณเสือบอก"อยู่บ้านเฉยๆ" ไม่ใช่รึ ... ถ้าทำไรแล้วจะเรียก"อยู่เฉยๆ"ได้งัยละคร๊าบบบบ

            @tumd
            เห็นใช้เฟอไรท์บรีดทำจั๊มกราวน์ไฟเข้า ที่จุดนี้ ระหว่างใช้ตัวนี้กับลวดธรรมดา เสียงต่างกันบ้างหรือเปล่าครับ

            Comment


            • Originally posted by keang View Post
              @เสือ
              เอ้า ก็คุณเสือบอก"อยู่บ้านเฉยๆ" ไม่ใช่รึ ... ถ้าทำไรแล้วจะเรียก"อยู่เฉยๆ"ได้งัยละคร๊าบบบบ
              5555+...ไม่ได้อยู่เฉยๆ....หายใจด้วยครับพี่..

              Comment


              • Originally posted by keang View Post
                @tumd
                เห็นใช้เฟอไรท์บรีดทำจั๊มกราวน์ไฟเข้า ที่จุดนี้ ระหว่างใช้ตัวนี้กับลวดธรรมดา เสียงต่างกันบ้างหรือเปล่าครับ
                อันนี้ไม่ได้ลองเทียบเลย เดี๋ยวนี้ติดเป็นนิสัยตลอด ว่าต้องใช้เฟอร์ไรท์บรีดจั๊มกราวน์ไฟกับกราวน์สัญญาณเสมอ ซื้อมาตุนไว้เยอะ ตัวละบาทเอง

                Comment


                • อนาคตถ้ามีโอกาสลอง ช่วยมาเล่าประสบการณ์ให้ฟังด้วยนะครับ

                  Comment


                  • Originally posted by ManiacMaew View Post
                    -หม้อแปลงน่าจะกระแสพอ เพราะเป็นหม้อไว้ลองLM1875 1-2Aได้

                    ทำไมcตัวแรกใช้แค่100uFล่ะครับ พิมพ์ผิดอ่ะป่าว?
                    ---------

                    ข่าวร้ายของผม
                    phillips shp8900ตัวคู่ใจที่ผ่านงาน ใช้เทสเสียงมาเยอะ ดับไปข้าง เช็คไปเช็คมา ไม่ใช่สายขาดแน่ วอยช์ถ้าจะขาด RIP T_T
                    ไม่ผิดคับ ตั้งใจ
                    ตั้งใจให้ตัว 1000 เป็นตัวจ่ายไฟหลัก และให้ตัว 100 เป็นเหมือนถังพัก
                    - เป็น filter การทำงานคือให้ C 100 กรองส่วนนึงและ L R C1000 กรองส่วนที่เหลือ
                    ซึ่ง LRC1000 จะรวมกันเป็นfilter ที่มีslope roll-off ที่ชันกว่า(กรองได้ลึกและมาก/เร็วกว่า)
                    คลุมในส่วนนอกเหนือจาก C100กรอง และส่วนที่C100 กรองไปแล้ว

                    ลักษณะการกรองของfilter มันจะไม่ได้ตัดโช๊ะหายไปเลย แต่มันจะค่อยๆลดระดับลงเป็น slope
                    ก็ขึ้นกับว่าfilter นั้นจะมี slope ที่ชันแค่ไหน(ความถี่หายไม่เร็วช้าแค่ไหน)

                    - จ่ายไฟ แต่เมื่อมี LR เข้ามา C1000 ก็จะชาร์จได้ช้าลง ก็อาจต้องไปดึงไฟมาจากส่วนหน้าก็คือ C100
                    ปกติ C ขนาดน้อยก็จะ ชาร์จ/จ่ายได้เร็วกว่า Cใหญ่ๆ ก็จะจ่ายไฟมาชาร์จให้C1000 ได้เร็ว
                    ซึ่งความต้องการคือ ต้องการให้ไฟที่มาจ่ายมาจาก Capacitor (ผ่านรการกรอง)เป็นหลักไม่ใช่จากหม้อแปลงโดยตรงเป็นหลักน่ะครับ


                    ไหนๆวอยซ์พังแล้ว จัดการโมฯเลยครับ NPE มีวอยซ์ของหูฟัง superlux ขายอยู่หลายรุ่นนะ ไว้มาเปลี่ยน
                    แต่ก็จะไม่ได้เสียงของตัวเดิมน่ะ ถ้าชอบแนวตัวเดิมก็ไปซื้อแบบเดิมมาไว้ใช้ใหม่
                    ส่วนตัวนี้ที่พังก็เอามายำเล่นซะ อิอิ

                    Comment


                    • ส่วนผมนี่สงกรานต์ได้งานเยอะ คือดูการ์ตูนที่โหลดๆมาเก็บๆไว้ไปได้พอควรเลย หมดงานไปได้หลาย 555+

                      และงาน side track ก็พอได้มาอีกหน่อย
                      AkudSdac เริ่มเป็นตัวละ

                      Comment


                      • บ้านหม้อ วันนี้เปิดแค่ไม่กี่ร้าน สรุปไม่ได้ของสักชิ้น
                        ไหนๆไปละ แวะไปนั่งโม้ร้านเพื่อนที่วังบูรพา ได้ของกำนัลติดมือหน่อยนึง

                        Comment


                        • Originally posted by dracoV View Post
                          ไม่ผิดคับ ตั้งใจ
                          ตั้งใจให้ตัว 1000 เป็นตัวจ่ายไฟหลัก และให้ตัว 100 เป็นเหมือนถังพัก
                          - เป็น filter การทำงานคือให้ C 100 กรองส่วนนึงและ L R C1000 กรองส่วนที่เหลือ
                          ซึ่ง LRC1000 จะรวมกันเป็นfilter ที่มีslope roll-off ที่ชันกว่า(กรองได้ลึกและมาก/เร็วกว่า)
                          คลุมในส่วนนอกเหนือจาก C100กรอง และส่วนที่C100 กรองไปแล้ว

                          ลักษณะการกรองของfilter มันจะไม่ได้ตัดโช๊ะหายไปเลย แต่มันจะค่อยๆลดระดับลงเป็น slope
                          ก็ขึ้นกับว่าfilter นั้นจะมี slope ที่ชันแค่ไหน(ความถี่หายไม่เร็วช้าแค่ไหน)

                          - จ่ายไฟ แต่เมื่อมี LR เข้ามา C1000 ก็จะชาร์จได้ช้าลง ก็อาจต้องไปดึงไฟมาจากส่วนหน้าก็คือ C100
                          ปกติ C ขนาดน้อยก็จะ ชาร์จ/จ่ายได้เร็วกว่า Cใหญ่ๆ ก็จะจ่ายไฟมาชาร์จให้C1000 ได้เร็ว
                          ซึ่งความต้องการคือ ต้องการให้ไฟที่มาจ่ายมาจาก Capacitor (ผ่านรการกรอง)เป็นหลักไม่ใช่จากหม้อแปลงโดยตรงเป็นหลักน่ะครับ
                          ขอบคุณครับ

                          ไหนๆวอยซ์พังแล้ว จัดการโมฯเลยครับ NPE มีวอยซ์ของหูฟัง superlux ขายอยู่หลายรุ่นนะ ไว้มาเปลี่ยน
                          แต่ก็จะไม่ได้เสียงของตัวเดิมน่ะ ถ้าชอบแนวตัวเดิมก็ไปซื้อแบบเดิมมาไว้ใช้ใหม่
                          ส่วนตัวนี้ที่พังก็เอามายำเล่นซะ อิอิ
                          ถ้าin-ear earbudที่driverเดียว พวกนี้ก็แค่เอาdriverยัดเข้าbodyให้ได้ก็พอ หาวิธีแกะให้มันไม่พัง
                          แต่fullsize พวกจุดยึด-โครง-วิธีประกอบมันจะต่างกันเยอะมาก มันจะมีส่วนที่เป็นfilterหน้าdriverด้วย เหมือนจะยึดมาด้วยกาวถ้าแกะแล้วคือแกะเลย แผ่นนั้นมันจะเยิ่นไปเลย แปะกลับถ้าจะไม่ได้
                          - -. สรุปคือมันหลายชั้นอ่ะครับ ถ้าจะเปลี่ยนdriverข้ามรุ่น-ยี่ห้อ ยาก (ไอ้รุ่นที่มันโครงสร้างน้อยชั้นไม่ซับซ้อนอาจจะทำได้ง่ายก็ได้)

                          ตลกดีที่ไอ้รุ่นมันทำ driverเอียงจากหน้าเข้าหู ให้คล้ายๆเหมือนลำโพงที่มันมาจากด้านหน้า แต่มิติด้านลึกกลับไม่มีเท่าไร

                          ส่วนผมนี่สงกรานต์ได้งานเยอะ คือดูการ์ตูนที่โหลดๆมาเก็บๆไว้ไปได้พอควรเลย หมดงานไปได้หลาย 555+
                          ดองเก็บไว้เยอะเลย เนี๊ยวรูโกะก็ดองไว้ข้ามss ยังไม่ได้ดูให้จบ หรือว่าทำแอมป์โมลำโพงเสร็จเกิดอารมณ์แก่ๆ ไม่มีไฟดูการ์ตูน
                          บางเรื่องดูแล้วก็ละเหี่ยใจกับพระเอก อยากล้มโต๊ะเลย

                          Comment



                          • tube-buffer

                            -----------
                            More No-Gain?No-Pain
                            Before moving forward with the last blog entry's circuit, let's back up a bit first. Tube-based buffer line stages that provide no voltage gain are rare. As far as I know, no commercially-offered, unity-gain, tube-based buffer exists. This is an odd situation, as passive line-stages are popular, which proves that extra signal gain isn?t always required. Yet passive line stages often prove inadequate, incapable of driving high-capacitance cables or low-input impedances. (Additionally, active line-stage amplifiers can often impart the missing heft and solidity that is missing in many passive setups, even when the load is wimpy, but at the cost of some added noise and distortion.)

                            So what is required to make a good tube-based unity-gain buffer? For most tube fanciers, the immediate answer is to use a cathode follower. This solution makes a lot of sense, as the cathode follower offers no gain and both a low output impedance and distortion figure. A cathode follower, however, isn?t the only circuit that will work as a buffer. For example, the plate-follower also provides unity-gain, a low output impedance and distortion figure. But I am jumping ahead too much. Instead, let?s start with the cathode follower, a very simple cathode follower at that.

                            Another modification to the simple cathode follower is to give it a negative power supply, which will allow a much larger cathode resistor to be used, which, like the constant-current source, will help linearize the cathode follower.

                            I know that many solder-slingers hate negative power supplies passionately, but as center-tapped secondaries are common on high-voltage power transformers, extracting a negative potential is a breeze (if you are wiling to use solid-state rectifiers).

                            เครดิต
                            http://www.tubecad.com/2007/04/blog0103.htm
                            Last edited by tiger X-fi; 17 Apr 2014, 02:54:27.

                            Comment


                            • Split-Load Phase Splitter
                              After reading Stuart Yaniger's article in Linear Audio, "Taming the split-load inverter" and after designing my 6AS7/6080/6082 based OTL, it seemed to me that many more topological tricks remained latent within the humble but capable split-load phase splitter. But first, let us do a quick recap on the circuit.

                              ------------
                              อย่าง balanced output สำหรับบริดจ์แอมป์ ทำแบบนี้ได้มั๊ยครับ

                              Comment


                              • มีคนเอาแบบที่คุณเสือบอกใน#1049 มาใส่แทนที่ในตำแหน่ง ออปแอมป์741 ของวงจรแอมป์741

                                วงจรเรกกูเลเตอร์ไฟสูงสำหรับเพลท อันนี้ง่ายดี


                                C1 and C2 can be reduced to 8 uF, C3 can be lower as well, set according to the method outlined below. C4 can be larger, but the total output capacitance (including whatever is included on the B+ next to the preamp circuit, should not exceed 50 uF.

                                The MOSFET should be rated to a voltage greater than 1.4 times the transformer output, but can otherwise be substituted at will. Anything in the IRF 7xx and 8xx product families will be suiteable. Buy at least two, as it is fairly easy to fry them when your project is in the prototype stage. Once connected properly they are very reliable.

                                The choke is needed to convert the ripple from a sawtooth wave typical of a capacitor input filter to a smoother sinusoidal waveform which is easier for the MOSFET to erase. 5 H - 20 H is needed. The erasing part happens because the ripple causes the gate-source voltage of the MOSFET to change, and the gain/transconductance of the MOSFET is large enough that it compensates almost perfectly.

                                The gate-source voltage is only a couple of volts, so the voltage at the junction of R1 and R2 is essentially the same as the output voltage. R1 is adjusted to get whatever voltage is required. The greater the drain-source voltage, the better the regulator copes with large ripple voltages and widely varying current loads, but the power dissipated by the MOSFET will be greater, requiring better heatsinking. Since the line ripple voltage and the current load variation are both very small in line audio circuits, a 25 to 50 V drop is more than enough. The power dissipated by the MOSFET is voltage drop x the current draw of the load circuit. It is about 4 W in the circuit shown, but only 1.5 W when driving just the phono pre-amp, which draws 20 mA.

                                This isn't an IC regulator like an LM7812. There is no absolute regulation, as there is no voltage reference. Neither is there any short circuit or thermal protection. It is better thought of as an unregulated power supply with really good filtering and very low output impedance than a true regulated supply.

                                For all its simplicity, there are a couple of useful side effects. When switched on, there is an initial turn on delay before the output voltage is at maximum. The time constant is equal to R1 x C3. This is also the low frequency cutoff below which the regulator does not function, so should be kept above 50 ms (10 Hz or less).

                                I consider the absence of an inherently noisy voltage reference (Zener or gas discharge tube) more or a plus than a minus, as I do the absence of feedback. The filtering is so good that the B+ can be applied directly to the plate of the input tube without needing a dropping resistor and extra filter capacitor, the result is fewer parts and a lower power supply impedance.

                                The supply is scaleable to larger voltages and currents, and it is easy to have separate regulation sections for each channel or even each tube. And yes, you could use tubes in the power supply too, and it might be even better. The solid state diodes could be swapped for a 6X4 or 6CA4 rectifier tube, but you'd need a center-tapped 650V power transfomer. The MOSFET could be replaced by a power triode, but to get the current capacity you might have to use one for each channel, and the gain might be too low, requiring a voltage reference and comparitor triode amplfifier. In short, do-able, but not quite as elegant.

                                ----------------------------------

                                ยกมาบางส่วนเพื่อเป็นตัวอย่าง เพื่อให้รู้ว่าบทความเกี่ยวกับอะไร ใครสนใจก็ไปอ่านเพิ่มตามลิ้งค์
                                > ออกแบบวงจร Pre-amp TUBE (6DJ8)

                                การออกแบบวงจรปรีแอมป์ ด้วยหลอดเบอร์ TUBE (6DJ8) พร้อมการทดสอบวงจรด้วยโปรแกรม PSpice

                                ถ้าจะพูดถึงนักฟังหลายๆ ท่าน ที่ชอบเครื่องเสียงแบบหลอดนั้น คงจะทราบกันดีว่าคุณภาพของเสียงที่ได้จากเครื่องเสียงแบบหลอดนั้นให้คุณภาพของเสียงที่ดีมาก ดังนั้นในบทความนี้จะขอกล่าวถึงปรีแอมป์ที่ได้ทำมาจากหลอด โดยเป็นหลอดที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากและสามารถที่จะหาซื้อได้ไม่ยากนัก นั้นก็คือหลอดเบอร์ 6DJ8 โดยคุณสมบัติของหลอดนี้เหมาะที่จะนำมาใช้ในการสร้างวงจรปรีแอมป์เป็นอย่างมากครับ

                                โดยในบทความนี้จะขอกล่าวถึงการออกแบบวงจรปรีแอมป์ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่สนใจเครื่องเสียงแบบหลอดว่าจำเป็นที่จะต้องมีการวิเคราะห์อย่างไรบ้างและต้องพิจารณาในเรื่องใด จึงจะทำให้วงจรปรีแอมป์ที่จะออกแบบนั้น ให้คุณภาพของเสียงออกมาดีที่สุด

                                มาเริ่มต้นการออกแบบวงจรกันเลยนะครับ? ในการเลือกใช้หลอดเบอร์ 6DJ8 เพื่อใช้ในการออกแบบและนำมาสร้างเป็นวงจรปรีแอมป์นั้น ในบทความนี้ก็จะทำการสร้างเป็นโมเดลของหลอดขึ้นมาด้วยเพื่อใช้งานในการทดสอบวงจรที่ได้ออกแบบ โดยเริ่มแรกเราก็คงจะต้องมาดูโครงสร้างของหลอด Triode Vacuum Tube เบอร์ 6DJ8 กันก่อนนะครับว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร

                                ----------------------------------

                                ยกมาบางส่วนเพื่อเป็นตัวอย่าง เพื่อให้รู้ว่าบทความเกี่ยวกับอะไร ใครสนใจก็ไปอ่านเพิ่มตามลิ้งค์
                                > บทความ(Circuit Design) - Basic Tube7 (12AU7)

                                เรื่องราวดีๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องของหลอดสูญญากาศ เพื่อทำความเข้าใจถึงคุณสมบัติต่างๆ ของหลอดสูญญากาศให้มากยิ่งขึ้นไปอีกขั้นนะครับ เพื่อที่จะได้นำความรู้ที่ได้นี้ไปทำการออกแบบวงจรต่างๆ ที่เราต้องการจะออกแบบต่อไปนะครับ โดยในบทความตอนที่แล้วก็ได้กล่าวถึงพื้นฐานการออกแบบวงจรขยายแรงดัน หรือเรียกว่า Voltage Amplifier ซึ่งก็คงจะทำให้หลายท่านเข้าใจถึงวิธีการออกแบบวงจรกันมากขึ้นไปอีกนะครับ ดังนั้นในบทความนี้ทางคณะผู้เขียนก็จะขอกล่าวถึงพื้นฐานการออกแบบวงจรแบบอื่นบ้างนะครับ นั้นก็คือการออกแบบวงจรขยายแบบสเตทเดียว หรือเรียกว่า Single-Stage Amplifier นั้นเองครับ ซึ่งก็คงจะทำให้ผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ได้เกิดความเข้าใจถึงพื้นฐานการคำนวณมากขึ้นไปอีกนะครับ โดยครั้งนี้ก็จะขอเลือกใช้หลอดสูญญากาศเบอร์ 12AU7 นะครับ?@@@ ถ้าอย่างนั้นเพื่อไม่ให้เสียเวลาเรามาเริ่มศึกษากันเลยนะครับ
                                Last edited by keang; 17 Apr 2014, 17:06:33.

                                Comment

                                Working...
                                X