Announcement

Collapse
No announcement yet.

Windows 10 PRO vs. LTSB (v.1607) vs. LTSC (v.1809) | 7 GAMES

Collapse
X
 
  • Filter
  • Time
  • Show
Clear All
new posts

  • Windows 10 PRO vs. LTSB (v.1607) vs. LTSC (v.1809) | 7 GAMES



    [IMG][/IMG]
    ============ Hardware ============

    - CPU - Intel i3 8100
    - GPU - Zotav GTX 1050 ti 4GB
    - RAM - Kingston 16GB DDR4 2400MHz (2x8)
    - Mobo - Gigabyte Z370M AORUS Gaming
    - PSU - Corsair CX 500

    Originally posted by devilblaze View Post
    1% Low คือเอาผลเทสที่แกว่งและต่ำกว่าค่าเฉลี่ย fps จากทั้งหมด สมมุติทดสอบจำนวน 10,000 เฟรม //// 1% จาก 10,000 เฟรมก็คือ 100เฟรมที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย มารวมกันแล้วคำนวนหาค่าเฉลี่ยที่แกว่งไป นั่นอาจรวมพวกเฟรมที่ต่ำสุดขั้วด้วย
    และ 0.1% low ก็เช่นกัน

    วิธีอ่านจากผลเทส i7-4790@4Ghz คือ

    AVG คือค่าเฉลี่ยเฟรมทั้งหมดจากการเทสนั่นๆ ได้ 92fps
    1% low คือ จากผลเทสเอา 1% ที่มีเฟรมดรอปลงไปจากค่าเฟรมเฉลี่ย เอาเฟรมที่ดรอปไปนั่นมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยได้ 60fps
    0.1% low คือ จากผลเทสเอา 0.1% ที่มีเฟรมดรอปลงไปจากค่าเฟรมเฉลี่ย เอาเฟรมที่ดรอปไปนั่นมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยได้ 57fps

    สรุปยิ่งค่า 1% low ใกล้เคียงกับ avg fps เท่าไหร่ยิ่งดี มันบ่งบอกว่า system นั่น สามารถปั่น fps ออกมาได้เสถียรหรือไม่ , ตรงกันข้ามหาก 1% low ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยมากๆ ก็แสดงว่า system นั่นอาจมีกระตุก หนืด หรืออะไรก็แล้วแต่ที่ทำให้การเล่นเกมส์เสียอารมณ์

    ปล ผมอาจจะเข้าใจผิดก็ได้ รอท่านอื่นมาเสริมละกัน
    Last edited by THEFOOL; 12 Jun 2019, 00:15:54.

  • #2
    ตั้งผิดห้องเปล่า วินโดวส์ไปตั้งห้องซอฟแวร์ดิ

    Comment


    • #3






      Comment


      • #4
        เผื่อใครสงสัย LTSB = Long Term Service Branch ส่วน LTSC = Long Term Service Channel
        ต่างกันแค่ชื่อเฉยๆแต่นโยบายเดียวกันคือออกแบบมาเพื่อรองรับเครื่องที่ต้องการความเสถียรระดับสุดยอด เช่น เครื่องมือทางการแพทย์ / ATM
        ไม่มีแอปขยะหรือ service ไม่จำเป็นมากวนใจ
        มีการอัพเดทเฉพาะ security เป็นเวลา10ปี ไม่มีอัพเดท feature พร่ำเพรื่อ

        Comment


        • #5
          Originally posted by Botvinnik View Post
          เผื่อใครสงสัย LTSB = Long Term Service Branch ส่วน LTSC = Long Term Service Channel
          ต่างกันแค่ชื่อเฉยๆแต่นโยบายเดียวกันคือออกแบบมาเพื่อรองรับเครื่องที่ต้องการความเสถียรระดับสุดยอด เช่น เครื่องมือทางการแพทย์ / ATM
          ไม่มีแอปขยะหรือ service ไม่จำเป็นมากวนใจ
          มีการอัพเดทเฉพาะ security เป็นเวลา10ปี ไม่มีอัพเดท feature พร่ำเพรื่อ
          กำลังหาในกูเกิ้ลเลย

          แต่ผมงงตรงที่
          การทดสอบโดยตันที่การ์ดจอแบบนี้
          จะสื่อว่า os version กระทบ cpu usage
          หรือจะหมายถึงประสิทธิภาพของ os เองที่มีผลต่อเกมโดยตรงกันแน่
          Last edited by taibkk; 12 Jun 2019, 00:22:51.

          Comment


          • #6
            ตอนแรกใช้ ltsb นี่ละ จากที่หาข้อมูลใน reddit และในนี้ ผมค่อนข้างโอเคเลยนะ
            แต่เจอบัคเดียว คือ ผมใช้ spotify แอป เนี่ย ฟังๆอยู่บางทีเครื่อง random freeze หาข้อมูลไปๆมาอ้อมันเป็นบัคกับ 1607
            สุดท้ายเลยต้องจำใจลงใหม่เป็น ltsc

            เพิ่มเติมข้อมูล
            https://community.spotify.com/t5/Des...e/td-p/1642109
            Last edited by xanzus; 12 Jun 2019, 01:42:55.

            Comment


            • #7
              ชัดเจน

              Comment


              • #8
                ส่วนตัวยังไม่เคยเจอบั้กจากการอัพเดตวินโดว์จนระบบค้างน่ะครับ
                ถ้ารู้สึกว่ามีอะไรแปลก ๆ หรือหน่วงลง
                ก็มักจะลงใหม่แบบคลีน ๆ แล้วรออัพเดตทีเดียวเสร็จ
                แต่ผมไม่ค่อยมีโปรแกรมใช้งานสำคัญอะไร เลยลงคลีนได้สะดวก
                พอลงคลีนแล้วอัพเดตล่าสุด เทสคะแนนเทสเกมก็ใกล้เคียงกันนะ
                จะมีแค่เวลาเปลี่ยน cpu หรือ gpu ใหม่ ที่บางครั้งได้คะแนนต่ำกว่าที่หวัง
                ก็จะลงคลีนใหม่ คะแนนก็ดีขึ้นชัดเจน

                ส่วนนึงน่าจะเล่นน้อยเกม เลยอาจจะเทสไม่รอบด้านด้วย

                Comment

                Working...
                X